Archive for พฤษภาคม 2014
หน้าแรกกับแนะนำการใช้บล็อก
By : andriaแนะนำการใช้บล็อก
การเข้าสู่เนื้อหา
-ท่านสามารถเข้าสู่เนื้อหาได้โดยการใช้ฟังก์ชันdrop down boxด้านบน มีหัวข้อของหลักสูตรครบท้วน โดยท่านสามารถกดเพื่อเลือกเนื้อหาที่ต้องการได้ทันที
-เนื้อหาที่ได้รับการอ่านบ่อยที่สุด จะถูกนำขึ้นด้านล่างของหัวข้อบทความแนะนำ โดยท่านสามารถกดเพื่อเลือกเนื้อหาที่ต้องการ
-เนื้อหาในส่วนกลางของหน้าหลัก จะถูกสุ่มขึ้น
-ท่านสามารถเข้าสู่เนื้อหาโดยค้นหาจากประวัติของบล็อก
การทำแบบทดสอบ
-ท่านสามารถเข้าสู่แบบทดสอบโดยการใช้การใช้ฟังก์ชันdrop down boxด้านบน จากนั้นเลือกข้อสอบที่ต้องการ โดยข้อสอบวัดความเข้าใจ จะถูกแบ่งออกเป็นหัวข้อต่างๆด้านใน
-ท่านสามารถเข้าสู่แบบทดสอบโดยการใช้การเลือกลิงก์ด้านล่างของเนื้อหาบทนั้นๆ
-ท่านสามารถทำข้อสอบผ่านเว็บไซต์ได้ทันที โดยการกดเลือกข้อที่ต้องการตอบ และกดดูผลคะแนน
-ข้อสอบวัดความสามารถการแข่งขันจะถูกแยกออกเป็นไฟล์สำหรับdownloadใน หน้าหัวข้อข้อสอบ
-ท่านสามารถดูคะแนนเป็นเปอร์เซ็นต์และเฉลยอย่างหยาบได้ด้านล่างของข้อสอบ
-ท่านสามารถทำข้อสอบใหม่ได้ทันที หรือทำใหม่ทั้งหมด โดยกดยกเลิก ผลคะแนนทั้งหมดจะกลับสู่ค่าเริ่มต้น
-ท่านสามารถดูเฉลยโดยละเอียดได้ โดยโหลดเป็นเอกสารจาก www.ans4cdtrigonometry.blogspot.com
-เฉลยของแบบทดสอบ ก่อนและหลังเรียน จะสามารถดูได้จากวิดีโอในหน้าเว็บ www.ans4cdtrigonometry.blogspot.com ได้ทันที
เครื่องคิดเลข จะทำงานในระบบเรเดียนเท่านั้น
รวมลิงก์ข้อสอบทั้งหมด
By : andriaเพื่อความสะดวกของผู้ใช้งาน ผู้จัดทำจึงได้รวมข้อสอบก่อน หลัง และ ระหว่างบทเรียนเข้าไว้ด้วยกันในบทความนี้ เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาที่ผู้ศึกษาสนใจได้ อันประกอบด้วย
1. แบบทดสอบก่อนบทเรียน
2. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
3. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
4. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
5. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
6. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องการใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
8. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
9. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
10. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องเอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
11. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องกฎของโคไซน์และไซน์
12. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องการหาระยะทางและความสูง
13. แบบทดสอบหลังบทเรียน
14. แบบทดสอบวัดความสามารถการแข่งขัน
1. แบบทดสอบก่อนบทเรียน
2. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
3. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
4. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
5. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
6. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องการใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
8. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
9. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
10. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องเอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
11. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องกฎของโคไซน์และไซน์
12. แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องการหาระยะทางและความสูง
13. แบบทดสอบหลังบทเรียน
14. แบบทดสอบวัดความสามารถการแข่งขัน
วัตถุประสงค์ในการจัดทำ
By : andria
การจัดทำรายงานเนื้อหาคณิตศาสตร์เรื่องตรีโกณมิตินี้
มีจุดประสงค์ดังต่อไปนี้
1.รวบรวมสูตร
และเอกลักษณ์ทางตรีโกณมิติ เข้าไว้ในแหล่งเดียว เพื่อความสะดวกในการศึกษา
2.นำตัวอย่างการพลิกแพลง
และวิธีแก้ไขปัญหาโดยละเอียด เพื่อเป็นตัวอย่างในการแก้โจทย์ในข้อสอบต่างๆ
3.รวบรวมนิยาม
ทั้งหมดที่สำคัญ เข้าไว้ในแหล่งเดียวเพื่อความสะดวกในการศึกษา
4.รวบรวมโจทย์ปัญหา
จากแหล่งต่างๆเข้าไว้ในแหล่งเดียว เพื่อประโยชน์ในการฝึกฝน ให้เกิดความคล่องแคล่ว
5.เพื่อแสดงวิธีการแก้โจทย์ประยุกต์ในข้อสอบแข่งขันต่างๆ
สาเหตุของปัญหาการเรียนเรื่องตรีโกณมิติ
By : andria
จากที่คณะผู้จัดทำได้เรียนเนื้อหาตรีโกณมิติ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 แล้ว
คณะผู้จัดทำ ได้ตัดสินใจทำเนื้อหานี้ ด้วยเหตุผมหลายปัจจัย ดังนี้
1.เนื้อหาตรีโกณมิติ มีสูตรเฉพาะจำนวนมาก
ยากต่อการท่องจำ
2.โจทย์ของตรีโกณมิติ มีการพลิกแพลงหลากหลาย
สามารถผสมได้กับหลายเนื้อหา
3.นิยามในบทตรีโกณมิติ มีข้อจำกัดจำนวนมาก
ง่ายต่อการหลงลืมหรือสับสน
4.การสอบแข่งขันโดยใช้ตรีโกณมิติ
จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์ในการทำโจทย์อย่างมาก
5.ข้อสอบแข่งขันโดยใช้เนื้อหาตรีโกณมิติมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
และต้องใช้ความรู้บางประการที่จำเป็นต้องศึกษาด้วยตัวเอง
จะสังเกตได้ว่า เนื้อหาตรีโกณมิตินี้ จำเป็นต้องใช้ความอดทน
และความขยันในการทำโจทย์อย่างมาก เพื่อให้เกิดความคล่องแคล่ว
แต่เนื่องจากโจทย์การแข่งขันมีการสลับเนื้อหาไปมา ผู้ที่ยังศึกษามาไม่แม่นยำ
จึงเกิดความสับสน และนำไปสู่ความท้อถอยในที่สุด ดังนั้น
คณะผู้จัดทำจึงมีความคิดที่จะนำเนื้อหาในเรื่องตรีโกณมิติ
มาเรียบเรียงให้เกิดความสะดวกในการอ่าน
ข้อสอบวัดความสามารถการแข่งขัน
By : andriaข้อสอบชุดนี้ เป็นข้อสอบที่ดึงมาจากการสอบระดับประเทศต่างๆ เช่น admission O-net A-net กสพท. PAT
เหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ต้องการจะทบทวน และวัดความเข้าใจทั้งก่อนและหลังเรียน
เพื่อความสะดวกในการศึกษาอย่างละเอียด ผู้จัดทำได้ทำการรวบรวมโจทย์และเฉลยอย่างละเอียด สำหรับผู้ศึกษาที่ต้องการทดสอบ สามารถดาวน์โหลดเอกสารผ่านทางลิงค์ด้านล่าง
https://www.mediafire.com/?kgv9vkv0jpzz0va
เหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ต้องการจะทบทวน และวัดความเข้าใจทั้งก่อนและหลังเรียน
เพื่อความสะดวกในการศึกษาอย่างละเอียด ผู้จัดทำได้ทำการรวบรวมโจทย์และเฉลยอย่างละเอียด สำหรับผู้ศึกษาที่ต้องการทดสอบ สามารถดาวน์โหลดเอกสารผ่านทางลิงค์ด้านล่าง
https://www.mediafire.com/?kgv9vkv0jpzz0va
การเข้าชมการเฉลยอย่างละเอียดของแบบทดสอบต่างๆ
By : andriaหากท่านที่ศึกษาบล็อก CD trigonometry ของเราเเล้วเกิดปัญหาเช่น
"ข้อสอบนี้ยากจัง ถึงจะรู้เฉลยก็ยังทำไม่ตรงซะที"
"อยากจะรู้จังเลยว่าวิธีทำจริงๆมันทำยังไง"
ท่านสามารถเข้าชมบล็อกที่รวบรวมเฉลยอย่างละเอียดของบลอ็ก CD trigonometry ได้จากลิงค์ด้านล่าง
ลิ้งค์ www.ans4cdtrigonometry.blogspot.com
เนื่องจาก ผู้จัดทำอยากให้ผู้ที่ศึกษาได้ทดลองทำข้อสอบอย่างจริงจัง และไม่บังเอิญพบเห็นเฉลยโดยไม่จำเป็น จึงแยกเฉลยโดยละเอียดของเเต่ละบทไปไว้ที่blogใหม่ ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ท่านสามารถกดลิ้งค์ด้านล่างของข้อสอบแต่ละบท(ด้านล่างจากเฉลยอย่างหยาบ) เพื่อสามารถเข้าสู่การเฉลยอย่างละเอียดของบทนั้นๆได้ทันที
"ข้อสอบนี้ยากจัง ถึงจะรู้เฉลยก็ยังทำไม่ตรงซะที"
"อยากจะรู้จังเลยว่าวิธีทำจริงๆมันทำยังไง"
ท่านสามารถเข้าชมบล็อกที่รวบรวมเฉลยอย่างละเอียดของบลอ็ก CD trigonometry ได้จากลิงค์ด้านล่าง
ลิ้งค์ www.ans4cdtrigonometry.blogspot.com
เนื่องจาก ผู้จัดทำอยากให้ผู้ที่ศึกษาได้ทดลองทำข้อสอบอย่างจริงจัง และไม่บังเอิญพบเห็นเฉลยโดยไม่จำเป็น จึงแยกเฉลยโดยละเอียดของเเต่ละบทไปไว้ที่blogใหม่ ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ท่านสามารถกดลิ้งค์ด้านล่างของข้อสอบแต่ละบท(ด้านล่างจากเฉลยอย่างหยาบ) เพื่อสามารถเข้าสู่การเฉลยอย่างละเอียดของบทนั้นๆได้ทันที
แบบทดสอบวัดความเข้าใจก่อนบทเรียน
By : andriaแบบทดสอบก่อนเรียนจ้า ลองทำดูนะ ไม่ยากอย่างที่คิด (ถ้าทำเป็นควรทำเสร็จใน5นาทีนะจ๊ะ)
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่1 ควรใช้เวลาไม่เกิน5นาที
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่2 ควรใช้เวลาไม่เกิน10นาที
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่ 3 ควรใช้เวลาไม่เกิน10นาทีในการทำข้อสอบ
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
By : andriaแบบทดสอบบทที่4จ้า ควรทำเสร็จใน15นาทีนะจ๊ะ
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องการใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่5 ควรใช้เวลาไม่เกิน5นาที
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่ 6 จ้า ควรใช้เวลาไม่เกิน10นาท
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่ 7 ควรใช้เวลาไม่เกิน10นาทีในการทำข้อสอบ
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่ 8 ควรใช้เวลาไม่เกิน15นาทีในการทำข้อสอบ
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องเอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
By : andriaเนื่องจากเนื้อหาความเข้าใจเรื่องเอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติมีเนื้อหาทับซ้อน จึงไม่สามารถจัดทำข้อสอบได้
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องกฎของโคไซน์และไซน์
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่ 10 ควรใช้เวลาไม่เกิน10นาทีในการทำข้อสอบ
แบบทดสอบวัดความเข้าใจเรื่องการหาระยะทางและความสูง
By : andriaแบบทดสอบวัดความเข้าใจบทที่ 11 ควรใช้เวลาไม่เกิน10นาทีในการทำข้อสอบ
รู้จักตรีโกณมิติ(บทนำ)
By : andriaตรีโกณมิติ (Trigonometry) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Circular Function คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิด
1.ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
2.ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
3.ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ (พวก tan sec cosec cot)
4.ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
5.การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
6.กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7.ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
8.ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
9.เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
10.กฎของโคไซน์และไซน์
11.การหาระยะทางและความสูง
โดยสามารถคลิกที่เนื้อหาเพื่อข้ามไปยังหลักสูตรที่ต้องการได้ทันที